Condemned to Be Free
Çar 15 Şub
Kapı:23:00
Etkinlik sona erdi

Condemned to Be Free

Çar 15 Şub
Kapı:23:00
Etkinlik sona erdi
Daha fazla bilgi
CONDEMNED TO BE FREE
Artists: Kritsada Duchsadeevanich & Tawan Wattuya
Curated by Penwadee Nophaket Manont
Contemporary Art Exhibition
15 February - 31 March 2017
Opening Reception: Wednesday 15 February 2017, 7pm at WTF Gallery
----------
Special talk: “Man is Condemned To Be Free” at 7.30-8.30pm
Speakers:
- Assistant Professor Kasem Phenpinant, PH.D., Head of Department of Philosophy, Faculty of Arts, Chulalongkorn University
- Assistant Professor Pandit Chanrochanakit, PH.D., Currently teaching at Faculty of Politic Sciences, Chulalongkorn University
- Kritsada Duchsadeevanich (artist)
- Tawan Wattuya (artist)
Moderated by Penwadee Nophaket Manont
(Talk is in Thai and free of charge)
----------
‘Man is condemned to be free’ : this declaration by Sartre is at the heart of his major philosophical work Being and Nothingness and his famous polemic Existentialism Is a Humanism.

WTF gallery is delighted to announce ‘Condemned to Be Free’ by Kritsada Duchsadeevanich and Tawan Wattuya, curated by Penwadee Nophaket Manont from 15 February - 31 March 2017. We’d also like to invite you to join the talk on the topic ‘Man Is Condemned to Be Free’, which will focus on the interpretation of freedom and its limits that are often used as an excuse to stop searching for truth in our society.

The curator harks back to the existentialism Jean-Paul Sartre developed in his magnum opus Being and Nothingness, written in the middle of World War II, which diagnosed the fundamental ‘nausea’ of European modernity as terror in the face of our own boundless freedom.

Sartre, the curator suggests, may be due a revival. Once again the old certainties are crumbling, the facts are losing their solidity, and confused and frightened populations are fleeing into the arms of leaders who propose simple solutions to complex problems, pledging to protect normal people from the wilderness out there.

Thailand has seen its share of confusion, and in the name of making everything simple again our thoughts and freedom are heavily controlled by the authorities, mob pressure and the media bubbles in which many of us choose to exist. The question is whether we can face up to the realization that that there are in fact no answers ‘out there’, that the world simply is, and that it is up to each individual to build his own house on these shifting sands.

The two artists, Tawan and Kritsada, were chosen by the curator not only for their political and social perspectives, but for their willingness to throw their own cherished beliefs into question.

Kritsada creates a site-specific installation to experiment with input from the viewer and raise questions about the process of finding freedom in searching for the truth. The idea behind this work derives from the realisation of his freedom to change his attitudes towards political perspective during the past few years. Through his works and his daily life working in an art institution, he has witnessed the dividing community within his work place. It caused him to raise questions and understand the possibility of freedom to search for the truth.

Tawan’s work, by contrast, deliberately restricts his own freedom to make finished works, seeking instead to paint prisoners, in quick watercolour, in the jails where they languish. With this method, he invites the audiences to discover what it is like to be creative when your freedom is severely limited -- but also whether a paradoxical kind of freedom can arise from being ‘thrown’, as the existentialists liked to say, into circumstances not of your choosing.

About Artists

Kritsada Duchsadeevanich (b.1984)
Kritsada graduated with a BFA in Art Theory from the Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University. He is known for his witty perspective, expressed in his art writing and criticism. His writing communicates straightforwardly and always challenges the audience to think from different angles. His works include Phenomena & Prophecies: Manit Sriwanichpoom exhibition, an article in the exhibition catalogue for Motion Emotion by Aree Soothipunt, as well as other exhibition criticism and reviews in art magazines. As an artist, he was also selected to participate in several group exhibitions, such as The Traces of Siamese Smile at BACC (2008), Thailand-Taiwan ThaiTai A measure of Understanding (2012), and Graduated Emergence exhibition at Number 1 Gallery, Bangkok (2013). He was selected twice for the Brand New Art Project (BUG, Bangkok University) as a Brand New Artist in 2009 with his project Art Project: 24hrs. Art Gallery and Brand New Critic in 2010. Since 2012, Kritsada has been a curator for the Art Centre, Silpakorn University with Miscellaneous Abstract - an exhibition under the Art Collection Silpakorn University Project, followed by RE-PLEASE Art Project (2012-2014), A4 Art Gallery Project (2012), WE=ME ASEAN art exhibition (2013), GlobaLIKEzation exhibition (2014), and recently with [un]forgotten - photography exhibition and Ready, Set, Go! ASEAN art exhibition (2015), Project Art Page in BAM Bangkok Art Map (Vol. 05,06,07-2015), Please Do Not Leave Me by Amrit Chusuwan (2016), Two Men Look Out Through the Same Bars:
One Sees the Mud, and One the Star (2016).

Tawan Wattuya is known for his unique approach to watercolor and thought-provoking subject matter. Tawan’s choice of watercolour as a medium is a deliberate attempt to convey the speed and dynamism of contemporary society and explore its complex contrasts. His paintings are always poetic but nonetheless provocative in terms of his critical engagement with corruption, globalization and hypocrisy. With art residencies in several countries in Europe, the US, Asia and South America, Tawan has chosen to view his homeland from a distance, studying the social and political situation from afar in order to bring more layers of understanding and greater depth to his work. His work has been exhibited extensively in Bangkok, Singapore, Beijing, Paris, New York, Tokyo, Brisbane, and Brussels. Recent major solo exhibitions include BLINDED, DIGINNER Gallery, Tokyo, Japan, 2016; When Water Beats, Art et Plus Gallery, Paris, France, 2015; Dek Oey Dek Dee, Toot Yung Art Center, Bangkok, 2014; Like a Virgin, Alliance Francaise, Brisbane, Australia, 2014; Tii Tai Krua, Chula Art Center, Bangkok, Thailand, 2013; and Fading Nostalgia, Yang Gallery, Beijing, China, 2012.

Visitor information
WTF Café & Gallery
7 Sukhumvit Soi 51, Wattana, Klongton-Nua, Bangkok 10110
www.wtfbangkok.com
BTS: Thonglor Opening times: Tuesday – Sunday, 4-10pm
Free Admission

For further information please contact:
Somrak Sila, Christopher Wise
Tel: +66 (0)2 662 6246, +66 (0)89 926 5474, +66 (0)89 926 5159
Email: somrak@wtfbangkok.com, cw@wtfbangkok.com

==========

CONDEMNED TO BE FREE
นิทรรศการศิลปะร่วมสมัยโดย กฤษฎา ดุษฎีวนิช และ ตะวัน วัตุยา
ภัณฑรักษ์: เพ็ญวดี นพเกตุ มานนท์
15 กุมภาพันธ์ - 31 มีนาคม 2560
พิธีเปิด วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 19.00น.
----------
งานเสวนาภายใต้หัวข้อเรื่อง Man is Condemned to Be Free (เป็นภาษาไทย) เวลา 19.30น. โดย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เกษม เพ็ญภินันท์ หัวหน้าภาควิชาปรัชญาคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- กฤษฎา ดุษฎีวนิช (ศิลปิน)
- ตะวัน วัตุยา (ศิลปิน)
ดำเนินงานเสวนาโดย เพ็ญวดี นพเกตุ มานนท์
(ไม่มีค่าใช้จ่าย)
----------
"มนุษย์ทุกคนเกิดมาในสภาวะที่มีเสรีภาพอย่างไม่มีข้อจำกัด” คือหัวใจหลักขอเแนวคิดทางปรัชญาของ Jean-Paul Sartre จากผลงานหนังสือ ที่มีชื่อว่า Being And Nothingness (การมีอยู่และสภาวะอันว่างเปล่า) และเป็นการตีความปรัชญาที่มีการโต้เถียงกันมาอย่างยาวนานของ เอ็กซิสเตนเชียลลิสม์ (Existentialism)”

WTF แกลลอรี่มีความยินดีขอเชิญท่านเข้าร่วมพิธีเปิดและงานแสดงศิลปะภายใต้ชื่อ Condemned To Be Free โดย กฤษฎา ดุษฎีวนิช และ ตะวัน วัตุยา โดยงานจะเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2560 และงานเสวนาในหัวข้อเรื่อง Man is Condemend To Be Free ซึ่งจะเป็นการตีความหมายของคำว่าเสรีภาพที่มีข้อจำกัด และถูกนำไปใช้เป็นข้ออ้างในสังคมไทยปัจจุบัน โดยเสวนาครั้งนี้จะจัดขึ้นในพิธีเปิดงานนิทรรศการวันวันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ 2517 เวลา 19.30 - 20.30น.

ภัณฑรักษ์ของนิทรรศการนี้สนใจในทฤษฎีของ Jean-Paul Sarte ที่ตีความเรื่องความว่างเปล่าและเสรีภาพที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์ทุกคน ทฤษฎีดีดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นกลางสงครามโลกครั้ง 2 ด้วยการตีความและหาสาเหตุของรากฐานของความรู้สึกพะอืดพะอมของความทันสมัยในยุโรป ที่กลับกลายเป็นความน่าหวาดกลัว บนหน้ากากของความมีอิสระเสรีภาพอย่างไร้พรมแดนของมนุษย์

ภัณฑรักษ์เห็นว่าวิธีคิดของ Sarte มีความเหมาะสมควรนำกลับมาคิดใหม่อีกครั้งในยุคปัจจุบัน เนื่องจากความแน่นอนกลายเป็นเรื่องที่ไม่แน่นอนอีกต่อไป ความจริงกำลังสูญเสียความหนักแน่น กลุ่มคนที่มีความสับสนและความหวาดกลัวเริ่มหนีเข้าสู่อ้อมกอดของระบบนิยมเผด็จการ (Facism) ที่เสนอการแก้ปัญหาอย่างง่ายๆให้กับเรื่องที่มีความซับซ้อน มีการให้สัญญาที่จะปกป้องคนทั่วไปให้ปลอดภัยจากอันตรายจากภายนอก

ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความสับสนวุ่นวาย และเพื่อทำให้ประเทศกลับมามีความสงบสุขอีกครั้ง ความคิดและอิสระเสรีภาพจึงถูกควบคุมอย่างหนักโดยผู้มีอำนาจ แรงกดดันจากสังคม และสื่อต่างๆ ที่คนส่วนมากเลือกที่จะเสพ คำถามที่เกิดขึ้นคือเราสามารถที่จะเข้าใจได้หรือไม่ว่า ตวามจริงแล้วไม่มีคำตอบที่แน่นอนในโลกใบนี้ สิ่งที่เกิดขึ้นทั้งหมดขึ้นอยู่กับแต่ละคนที่สามารถเลือกได้ว่าจะมองหรือคิด หรือเปลี่ยนความคิดอย่างไรก็ได้ในพื่นฐานที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

ภัณฑรักษ์ได้เชิญศิลปินสองท่าน กฤษฎา ดุษฎีวนิช และ ตะวัน วัตุยา ผู้ไม่เพียงแค่ทำงานเชิงสังคมและการเมือง แต่ยังมีความเต็มใจที่จะตั้งคำถามกับความเชื่อของตนเอง
นิทรรศการครั้งนี้ กฤษฏา สร้างผลงานจัดวาง site specific เพื่อเป็นการทดลองข้อมูลจากคนดู และตั้งคำถามในเรื่องกระบวนการความมีอิสระ เพื่อค้นหาความจริง โดยงานครั้งนี้มีที่มาจากความเข้าใจของศิลปินถึงความมีอิสระในการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงทัศนคติด้านการเมือง อันเกิดมาจากประสบการณ์การทำงานในวงการศิลปะ และชีวิตประจำวันของศิลปินที่เห็นว่ามีการแบ่งขั้วกันอย่างชัดเจน จึงเกิดคำถามให้ศิลปินค้นหาความจริงผ่านอิสระได้

ในทางตรงข้าม ผลงานของตะวันตั้งใจที่จำกัดอิสระของตนเองในการผลิตงานศิลปะ โดยมีการเข้าไปวาดภาพนักโทษ นเรือนจำ วิธีการดังกล่าวเป็นทางเลือกที่ศิลปินต้องการให้ผู้ชมงานเห็นภาพของการสร้างสรรค์งานศิลปะที่ถูกจำกัดความมีอิสระนั้นเป็นอย่างไร? และเป็นการให้เห็นภาพความขัดแย้งของอิสระที่ถูกสร้างขึ้นจากการ “ถูกหยิบยื่น” ให้ในเหตุการณ์เฉพาะ ตามทฤษฎีของ Extentialist นั้น ไม่ใช้ทางเลือกที่แท้จริงของมนุษย์

กฤษฎา ดุษฎีวนิช (เกิด 2527)
จบการศึกษาจากภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กฤษฎามีผลงานด้านงานเขียนเป็นบทวิจารณ์และข้อเขียนทางศิลปะในสูจิบัตรประกอบนิทรรศการต่างๆ เช่น ท้าและทาย: ปรากฎการณ์มานิต ศรีวานิชภูมิ บทความศิลปะสมัยใหม่ (แท้)/ ศิลปะสมัยใหม่ (เทียม) ในบทบาทของคนที่เราเรียกว่า ครู ของอารี สุทธิพันธ์ จากนิทรรศการ เคลื่อนและไหว ของอารี สุทธิพันธุ์ รวมถึงบทความวิจารณ์นิทรรศการศิลปะในนิตยสารศิลปะต่างๆ นอกจากนี้ยังสร้างสรรค์ผลงานศิลปะโดยได้ร่วมแสดงงานในนิทรรศการต่างๆ มากมาย ในปี 2551 ได้เข้าร่วมในนิทรรศการ รอยยิ้มสยาม: ศิลปะ + ศรัทธา + การเมือง + ความรัก (The Traces of Siamese Smile) ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เขาได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ Brand New Art Project ถึงสองครั้งในฐานะศิลปินในปี 2552 กับ Art Project: 24 hrs. Art Gallery ที่ หอศิลป์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และในฐานะนักวิจารณ์ในปี 2553 ในปี 2554 กฤษฎาได้รับเลือกให้เข้าร่วมโครงการศิลปะเชิงปฏิบัติการกับศิลปินกลุ่มประเทศนอร์ดิกใน temperature ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร หลังจากนั้นเขาได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในศิลปินไทยในโครงการไทย-ไต้หวัน ระยะไทยไท ThaiTai A measure of Understanding (2555) และในปี 2556 ได้ร่วมแสดงงานในนิทรรศการ พร่า/พราย ณ นัมเบอร์วันแกเลอรี่ กรุงเทพฯ กฤษฎาเริ่มต้นบทบาทเป็นภัณฑารักษ์ให้กับหอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรตั้งแต่ปี 2555 กับนิทรรศการ สรรพนามธรรม ซึ่งเป็นนิทรรศการในโครงการศิลปกรรมสะสมมหาวิทยาลัยศิลปากร ต่อเนื่องด้วยโครงการ RE-PLEASE : ควร-หวนคืน (ปี 2555 - 2557) โครงการ A4 ART GALLERY (2555) ซึ่งเป็นพื้นที่ทางศิลปะในเเบบทางเลือกทดลองจัดเเสดง ณ ประเทศเวียดนาม นิทรรศการ WE=ME ASEAN Art Exhibition (2556), นิทรรศการ GlobaLIKEzation, นิทรรศการศิลปกรรมสะสม กาย-กลาย (2557), นิทรรศการ อยากจำกลับลืม อยากลืมกลับจำ [un]fortten, พร้อมสรรพ Ready, Set, Go!, Project Art Page in BAM Bangkok Art Map (Vol. 05,06,07-2015) (2558) นิทรรศการ Please Do Not Leave Me, นิทรรศการ สองคนยลตามช่อง คนหนึ่งมองเห็นโคลนตม อีกคนตาแหลมคม เห็นดวงดาวอยู่พราวพราย (2559)

ตะวัน วัตุยา เป็นที่รู้จักในฐานะศิลปินเขียนภาพสีน้ำที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ผลงานของเขามักสร้างให้เกิดการกระตุ้นทางความคิด ซึ่งทำหน้าที่เสมือนสื่อที่เจตนาถ่ายทอดความรวดเร็วและพลวัตของสังคมไทยร่วมสมัย ทั้งยังสำรวจความขัดแย้งอันซับซ้อนของสังคม ภาพเขียนของตะวันมักแสดงบทบาทเชิงสุนทรีย์ ทว่าคงความเร้าใจในแง่ของการวิพากษ์ต่อประเด็นต่างๆ อาทิ การทุจริตคอร์รัปชั่น กระแสโลกาภิวัตน์ และสังคมที่เต็มไปด้วยความเสแสร้ง

ด้วยประสบการณ์การเข้าร่วมโครงการศิลปินในที่พำนักในหลายประเทศทั้ง ยุโรป อเมริกา เอเชีย และอเมริกาใต้ ตะวันได้เลือกที่จะมองดูบ้านเกิด ศึกษาสถานการณ์ทางสังคมและการเมืองจากระยะไกล เพื่อที่จะสร้างความเข้าใจและความลึกซึ้งต่อกระบวนการทำงานของเขามากยิ่งขึ้น ผลงานของเขาถูกจัดแสดงอย่างกว้างขวางทั้งในกรุงเทพฯ, สิงคโปร์, ปักกิ่ง, ปารีส, นิวยอร์ก, โตเกียว, บริสเบน และ บรัสเซลส์

ผลงานแสดงนิทรรศการเดี่ยวที่สำคัญของเขา ได้แก่ BLINDED, DIGINNER Gallery, กรุงโตเกียว, ประเทศญี่ปุ่น, 2016; When Water Beats, Art et Plus Gallery, กรุงปารีส, ประเทศฝรั่งเศส, 2015; Dek Oey Dek Dee, Toot Yung Art Center, กรุงเทพฯ, 2014; Like a Virgin, Alliance Francaise, บริสเบน, ออสเตรเลีย, 2014; Tii Tai Krua, Chula Art Center, กรุงเทพฯ, 2013; and Fading Nostalgia, Yang Gallery, ปักกิ่ง, ประเทศจีน, 2012

ข้อมูลอื่นๆเกี่ยวกับ WTF Cafe' & Gallery
เปิดให้เข้าชม ทุกวันอังคาร - วันอาทิตย์ เวลา 16.00-22.00น.
ไม่เสียค่าใช้จ่าย
WTF Gallery & Cafe
7 สุขุมวิท 51 คลองตันเหนือ วัฒนา
กรุงเทพฯ 10110
โทร/เเฟกซ์ 02 662 6246
สถานีรถไฟฟ้า BTS ทองหล่อ
www.wtfbangkok.com

ติดต่อ
สมรัก ศิลา - ผู้จัดการ WTF Cafe & Gallery
โทร (66) 2 62 6246, (66) 89 926 5474
Email: somrak@wtfbangkok.com

Konum

Mekan
Konum
Neden Platinumlist?
Güvenli Ödeme
Güvenli Ödeme
Hızlı & Güvenli Ödeme
Anında Onay
Anında Onay
İade garantisi seçenekleri
Resmi Bilet Satıcısı
Resmi Bilet Satıcısı
10 milyonun üzerinde kullanıcı
7/24 Müşteri Hizmetleri
7/24 Müşteri Hizmetleri
Güvenilir satış sonrası desteği
Neden Platinumlist?
Güvenli Ödeme
Güvenli Ödeme
Hızlı & Güvenli Ödeme
Anında Onay
Anında Onay
İade garantisi seçenekleri
Resmi Bilet Satıcısı
Resmi Bilet Satıcısı
10 milyonun üzerinde kullanıcı
7/24 Müşteri Hizmetleri
7/24 Müşteri Hizmetleri
Güvenilir satış sonrası desteği